เกษตรศาสตร์วท.บ. (นวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ) (ภาษาไทย ปกติ)

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • รอบที่เปิดรับ 1 2 3 4
  • คะแนนที่ใช้ รออัพเดต
    (ตรวจสอบจากข้อมูลอัพเดตล่าสุดในแต่ละรอบอีกครั้ง)
  • ระยะเวลาหลักสูตร รออัพเดต
  • ค่าเทอม รออัพเดต
  • ข้อมูลปีการศึกษา 2567
ดูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคณะนี้ อัพเดตล่าสุด 28 เม.ย. 2567 *อย่าลืมตรวจสอบข้อมูลจากทางมหาวิทยาลัยอีกครั้งเนื่องจากอาจมีการเปลี่ยนแปลงกะทันหัน

การรับสมัคร

  • ปีการศึกษา 67

    โครงการสร้างผู้ประกอบการเกษตรแนวใหม่ เพื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ รอบที่ 1/2

    จำนวนที่รับ 10 ที่นั่ง
    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรแกนกลาง รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.)
    หมายเหตุ เงื่อนไขของหลักสูตร 1) การจัดการเรียนการสอน - กระบวนการเรียนรู้แบบการใช้กิจกรรมปฏิบัติ (Active Learning) และการโค้ช (Coaching) โดยนักศึกษาจะได้ใช้เวลาเรียนรู้ พัฒนาทักษะจากการปฏิบัติจริงประมาณ 80% และเรียนรู้พัฒนาโดยผ่านกระบวนการอื่นๆ 20% (เช่น การเยี่ยมชมดูงาน การทำเวิร์คช็อป การเรียนในห้องเรียน การสะท้อนการเรียนรู้ เป็นต้น) นักศึกษาจะได้เรียนรู้ และพัฒนาทั้งในด้านการเกษตร และด้านอื่นๆ ภายใต้การแนะนำ แนะแนว และการให้คำปรึกษาโดย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาในความร่วมมือ และผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายธุรกิจในเครือข่ายของมูลนิธิ BCL เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในอาชีพที่ถูกต้องเหมาะสม - ตารางเรียนของแต่ละวันจะถูกกำหนดให้เหมาะสมกับการพัฒนา แผนการเรียนรู้ งานหรือสิ่งที่นักศึกษารับผิดชอบขณะนั้น โดยในช่วงของการสร้างพื้นฐาน และการบ่มเพาะคุณลักษณะของเกษตรกร ตารางการเรียนรู้และการทำกิจกรรมการเกษตรในแต่ละวันจะเริ่มเวลา 6:00 น. (เวลาตื่นนอน) และเริ่มทำกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่ 07:00-17:00 น. โดยประมาณ (รวมเวลารับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และเวลาพัก) เวลา 19:00-20:00 น. จะเป็นการสะท้อนการเรียนรู้ หลั
    รายละเอียดเพิ่มเติม https://admission.psu.ac.th/
  • ปีการศึกษา 67

    โครงการรับนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.3) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) (รับทั่วประเทศ)

    จำนวนที่รับ 5 ที่นั่ง
    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรอาชีวะ
    หมายเหตุ เงื่อนไขของหลักสูตร 1) การจัดการเรียนการสอน - กระบวนการเรียนรู้แบบการใช้กิจกรรมปฏิบัติ (Active Learning) และการโค้ช (Coaching) โดยนักศึกษาจะได้ใช้เวลาเรียนรู้ พัฒนาทักษะจากการปฏิบัติจริงประมาณ 80% และเรียนรู้พัฒนาโดยผ่านกระบวนการอื่นๆ 20% (เช่น การเยี่ยมชมดูงาน การทำเวิร์คช็อป การเรียนในห้องเรียน การสะท้อนการเรียนรู้ เป็นต้น) นักศึกษาจะได้เรียนรู้ และพัฒนาทั้งในด้านการเกษตร และด้านอื่นๆ ภายใต้การแนะนำ แนะแนว และการให้คำปรึกษาโดย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาในความร่วมมือ และผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายธุรกิจในเครือข่ายของมูลนิธิ BCL เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในอาชีพที่ถูกต้องเหมาะสม - ตารางเรียนของแต่ละวันจะถูกกำหนดให้เหมาะสมกับการพัฒนา แผนการเรียนรู้ งานหรือสิ่งที่นักศึกษารับผิดชอบขณะนั้น โดยในช่วงของการสร้างพื้นฐาน และการบ่มเพาะคุณลักษณะของเกษตรกร ตารางการเรียนรู้และการทำกิจกรรมการเกษตรในแต่ละวันจะเริ่มเวลา 6:00 น. (เวลาตื่นนอน) และเริ่มทำกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่ 07:00-17:00 น. โดยประมาณ (รวมเวลารับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และเวลาพัก) เวลา 19:00-20:00 น. จะเป็นการสะท้อนการเรียนรู้ หล
    รายละเอียดเพิ่มเติม https://admission.psu.ac.th/
  • ปีการศึกษา 67

    โครงการสร้างผู้ประกอบการเกษตรแนวใหม่ เพื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ รอบที่ 1/1

    จำนวนที่รับ 15 ที่นั่ง
    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรแกนกลาง รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรตามอัธยาศัย (กศน.)
    หมายเหตุ เงื่อนไขของหลักสูตร 1) การจัดการเรียนการสอน - กระบวนการเรียนรู้แบบการใช้กิจกรรมปฏิบัติ (Active Learning) และการโค้ช (Coaching) โดยนักศึกษาจะได้ใช้เวลาเรียนรู้ พัฒนาทักษะจากการปฏิบัติจริงประมาณ 80% และเรียนรู้พัฒนาโดยผ่านกระบวนการอื่นๆ 20% (เช่น การเยี่ยมชมดูงาน การทำเวิร์คช็อป การเรียนในห้องเรียน การสะท้อนการเรียนรู้ เป็นต้น) นักศึกษาจะได้เรียนรู้ และพัฒนาทั้งในด้านการเกษตร และด้านอื่นๆ ภายใต้การแนะนำ แนะแนว และการให้คำปรึกษาโดย คณาจารย์จากสถาบันการศึกษาในความร่วมมือ และผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายธุรกิจในเครือข่ายของมูลนิธิ BCL เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในอาชีพที่ถูกต้องเหมาะสม - ตารางเรียนของแต่ละวันจะถูกกำหนดให้เหมาะสมกับการพัฒนา แผนการเรียนรู้ งานหรือสิ่งที่นักศึกษารับผิดชอบขณะนั้น โดยในช่วงของการสร้างพื้นฐาน และการบ่มเพาะคุณลักษณะของเกษตรกร ตารางการเรียนรู้และการทำกิจกรรมการเกษตรในแต่ละวันจะเริ่มเวลา 6:00 น. (เวลาตื่นนอน) และเริ่มทำกิจกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่ 07:00-17:00 น. โดยประมาณ (รวมเวลารับประทานอาหาร เช้า กลางวัน เย็น และเวลาพัก) เวลา 19:00-20:00 น. จะเป็นการสะท้อนการเรียนรู้ หลั
    รายละเอียดเพิ่มเติม https://admission.psu.ac.th/
  • ปีการศึกษา 2567
    อดใจรอข้อมูลอัพเดตเร็วๆนี้
ปี 67 เปิดรับสมัคร 7 พ.ค. - 13 พ.ค. 2566
  • ปีการศึกษา 2567
    อดใจรอข้อมูลอัพเดตเร็วๆนี้
  • ปีการศึกษา 2567
    อดใจรอข้อมูลอัพเดตเร็วๆนี้
แจ้งแก้ไขข้อมูล