การบริบาลทางเภสัชกรรมภ.บ. การบริบาลทางเภสัชกรรม (ภาษาไทย ปกติ)

คณะเภสัชศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

  • รอบที่เปิดรับ 1 2 3 4
  • คะแนนที่ใช้ รออัพเดต
    (ตรวจสอบจากข้อมูลอัพเดตล่าสุดในแต่ละรอบอีกครั้ง)
  • ระยะเวลาหลักสูตร 6 ปี
  • ค่าเทอม
  • ข้อมูลปีการศึกษา 2567
ดูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคณะนี้ อัพเดตล่าสุด 20 เม.ย. 2567 *อย่าลืมตรวจสอบข้อมูลจากทางมหาวิทยาลัยอีกครั้งเนื่องจากอาจมีการเปลี่ยนแปลงกะทันหัน

การรับสมัคร

  • ปีการศึกษา 67

    โครงการรับนักเรียนที่มีผลการเรียนดี

    จำนวนที่รับ 10 ที่นั่ง
    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรแกนกลาง
    หมายเหตุ 1. ต้องมีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานในส่วนราชการ หรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐได้หลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว โดยต้องสามารถทำสัญญาผูกพันฝ่ายเดียว หรือสัญญาปลายเปิดกับรัฐบาล ตามระเบียบและเงื่อนไขของรัฐบาลกับมหาวิทยาลัย 2. ต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และปราศจากโรค อาการของโรค หรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การ ปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ดังต่อไปนี้ 2.1. มีปัญหาทางจิตเวชขั้นรุนแรงอันอาจเป็นอันตรายต่อตนแอง และ/หรือผู้อื่น เช่น โรคจิต (psychotic disorders)โรคอารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) โรคบุคลิกภาพผิดปกติ(personality disorders) โดยเฉพาะ antisocial personality disorders หรือ borderline personality disordersรวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.2. เป็นโรคติดต่อในระยะอันตรายที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.3. เป็นโรคไม่ติดต่อ หรือภาวะอันอาจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.4. มีความพิการทางร่างกายอันอาจเ
    รายละเอียดเพิ่มเติม https://admission.psu.ac.th/
  • ปีการศึกษา 67

    โครงการคัดเลือกนักเรียนรับตรง (โควตาภูมิภาคใต้)

    จำนวนที่รับ 35 ที่นั่ง
    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรแกนกลาง
    หมายเหตุ 1. ต้องมีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานในส่วนราชการ หรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐได้หลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว โดยต้องสามารถทำสัญญาผูกพันฝ่ายเดียว หรือสัญญาปลายเปิดกับรัฐบาล ตามระเบียบและเงื่อนไขของรัฐบาลกับมหาวิทยาลัย 2. ต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และปราศจากโรค อาการของโรค หรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การ ปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ดังต่อไปนี้ 2.1. มีปัญหาทางจิตเวชขั้นรุนแรงอันอาจเป็นอันตรายต่อตนแอง และ/หรือผู้อื่น เช่น โรคจิต (psychotic disorders)โรคอารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) โรคบุคลิกภาพผิดปกติ(personality disorders) โดยเฉพาะ antisocial personality disorders หรือ borderline personality disordersรวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.2. เป็นโรคติดต่อในระยะอันตรายที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.3. เป็นโรคไม่ติดต่อ หรือภาวะอันอาจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.4. มีความพิการทางร่างกายอันอาจเ
    รายละเอียดเพิ่มเติม https://admission.psu.ac.th/
ปี 67 เปิดรับสมัคร 7 พ.ค. - 13 พ.ค. 2566
  • รูปแบบการรับ :

    โครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี รอบที่ 3 Admission

    ข้อมูลปีการศึกษา 67
    จำนวนที่รับ

    20 ที่นั่ง

    วันที่อัพเดตล่าสุด

    คะแนนขั้นต่ำ/สัดส่วนคะแนนที่ใช้*

    TGAT 20 %

    A-Level คณิต1 20 %

    A-Level อังกฤษ 20 %

    ผลรวมของ A-Level ฟิสิกส์ A-Level เคมี A-Level ชีววิทยา 40 %

    *อาจมีเงื่อนไขพิเศษเพิ่มเติม สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ที่ mytcas.com
    ค่าใช้จ่ายในการสมัคร

    0 บาท

    คุณสมบัติผู้สมัคร รับผู้สมัครที่จบจาก รร. หลักสูตรแกนกลาง
    หมายเหตุ

    1. ต้องมีคุณสมบัติที่จะปฏิบัติงานในส่วนราชการ หรือหน่วยงานต่างๆ ของรัฐได้หลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว โดยต้องสามารถทำสัญญาผูกพันฝ่ายเดียว หรือสัญญาปลายเปิดกับรัฐบาล ตามระเบียบและเงื่อนไขของรัฐบาลกับมหาวิทยาลัย 2. ต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และปราศจากโรค อาการของโรค หรือความพิการอันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การ ปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ดังต่อไปนี้ 2.1. มีปัญหาทางจิตเวชขั้นรุนแรงอันอาจเป็นอันตรายต่อตนแอง และ/หรือผู้อื่น เช่น โรคจิต (psychotic disorders)โรคอารมณ์ผิดปกติ (mood disorders) โรคประสาทรุนแรง (severe neurotic disorders) โรคบุคลิกภาพผิดปกติ(personality disorders) โดยเฉพาะ antisocial personality disorders หรือ borderline personality disordersรวมถึงปัญหาทางจิตเวชอื่นๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.2. เป็นโรคติดต่อในระยะอันตรายที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.3. เป็นโรคไม่ติดต่อ หรือภาวะอันอาจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา ที่อาจเกิดอันตรายต่อตนเอง ต่อผู้รับบริการ และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.4. มีความพิการทางร่างกายอันอาจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.5. มีความผิดปกติในการได้ยินทั้งสองข้าง โดยมีระดับการได้ยินที่ความถี่ 500-2000 เฮิรตซ์ สูงกว่า 40 เดซิเบลและความสามารถในการแยกแยะคำพูด (speech discrimination score) น้อยกว่าร้อยละ 70 จากความผิดปกติของประสาทและเซลล์ประสาทการได้ยิน (sensorineural hearing loss) อันเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงานและการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.6. มีความผิดปกติในการเห็นภาพ ระดับการมองเห็นในตาข้างที่ดี เมื่อแก้ไขด้วยแว่นสายตาแล้ว แย่กว่า 6/12 หรือ 20/40 และแพทย์ผู้ตรวจร่างกายเห็นว่าเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 2.7 มีความผิดปกติในการแยกสีอันอาจเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา การปฏิบัติงาน และการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ซึ่งผู้สมัครทุกรายจะต้องทำการทดสอบความสามารถในการมองเห็นและแยกสีในวันที่ทำการทดสอบสัมภาษณ์ สำหรับปัญหาสุขภาพ หรือโรคในข้อ 2 ให้คณะกรรมการสัมภาษณ์ที่คณะเภสัชศาสตร์แต่งตั้ง เป็นผู้พิจารณาตัดสิน ซึ่งผลการตัดสินของคณะกรรมการฯ ถือเป็นที่สิ้นสุด


  • ปีการศึกษา 2567
    อดใจรอข้อมูลอัพเดตเร็วๆนี้

อาชีพที่เกี่ยวข้อง

แจ้งแก้ไขข้อมูล